วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

   1.    เลขออกซิเดชันของกำมะถันในสิ่งต่อไปนี้มีค่าเรียงตามลำดับอย่างไร
         SO2       SO42-     S2O32-      S4O62-     H2S     S8
         1.            +4 , +6 , +2 , +2.5 , -2 , 0
         2.            -4 , +6  , +2 , +2 , -2 , 0
         3.            +4 , +6 , +2 , +3 , -2 , 0
         4.            +4 , +6 , +2 , +2.5 , +2 , 0
คำตอบ  เฉลย 1. วิธีคิด SO2     =>  S+ (-2×2) = 0
                                    S  มีเลขออกซิเดชัน +4        
                                   SO42-    =>  S+ (-2×4= -2     
                                    S  มีเลขออกซิเดชัน = -2 + 8 = +6
                                    S2O32-  =>  S+ (-2×3= -2   
                                    S  มีเลขออกซิเดชัน = -2 + 6 ÷ 2 = +2                                     
                                    S4O62-  =>  S+ (-2×6= -2         
                                    S มีเลขออกซิเดชัน =-2 + 12 ÷4 = +2.5
                                     H2S     =>  (+1×2) +S = 0   
                                     S  มีเลขออกซิเดชัน =  -2    
                                     S ใน S มีเลขออกซิเดชัน = 0
   2.   3P + 5HNO+ 2H2O  —>  5NO + 3H3PO4
จากสมการนี้ข้อความใดถูกต้อง
1.            ตัวรีดิวซ์เปลี่ยนค่าเลขออกซิเดชันจาก +5 เป็น 0
2.            ตัวรีดิวซ์เปลี่ยนค่าเลขออกซิเดชันจาก +5 เป็น +2
3.            ตัวออกซิไดซ์เปลี่ยนค่าเลขออกซิเดชันจาก +2 เป็น +5
4.            ตัวรีดิวซ์เปลี่ยนค่าเลขออกซิเดชันจาก 0 เป็น +5
คำตอบ  

3. ถ่านหินในข้อใดที่มีอายุการเกิดน้อยที่สุด และให้พลังความร้อนมากที่สุด
       1.เอนทราไซต์ และแอนทราไชต์        2. พีตและเอนทราไซต์ 
       3.ลิกไนต์และบิทูมินัส                  4.พีตและซับบิทุมินัส 
      คำตอบ  2. เพราะพีตเป็นถ่านหินที่มีอายุเกิดน้อยที่สุดนักวิชาการบางท่านได้จัดให้พีตเป็นถ่านหิน  ส่วนถ่านหินเอนทราไซต์มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุดเมื่อเผาไหม้จึงให้พลังงานความร้อนน้อยที่สุด
   4. การเตรียมสารละลาย NaOHให้มีความเข้มข้น  0.1โมลาร์  โดยใช้ NaOH ปริมาณ  2 กรัม จะสามารถเตรียมสารละลายNaOH ได้ปริมาตรเท่าใด (Na= 23, H=1, O=16)
      คำตอบ มวลโมเลกุลของ NaOH = 23+16+1=40

             จากสูตรปริมาณโมลของ NaOH = มวล NaOH = MV
                    โมเลกุลของNaOH 1,000
                     แทนค่า  2/40 = 0.1v/1,000
                                               V= 500 ml.
5.ก๊าซนีออนมีปริมาตร 200 cm3 ที่ 100 C ให้หาปริมาตรของก๊าซนีออนที่ o C ถ้าความดันคงที่
1. 205.5 cm3    2. 146.2 cm3    3. 156.4 cm3     4. 146.4 cm3
คำตอบ  4. จากสูตร
             ค่า    200         =            V2

                 273+100                273+0
       V2     =    200 273    =   146.4 cm3
                                          273+100
6.สมการใดที่กำมะถันเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันเท่ากัน
.Cl2 + H2SO3 + H2O  ------------>  2Cl- + SO42- +4H+
. 2Na2S2O3 + I2 ------------>  2NaI + Na2S4O6
. SO2 + NO2 ------------>  SO3 + NO
. As2S3 + 28NO3- + 20H+  ------------>  2H2AsO4- + 28NO2 + 8H2O
คำตอบ  4.            
             0     +1+4-2     +1-2                        -1      +6-2      +1
วิธีคิด  . Cl2 + H2SO3 + H2O  ------------> 2Cl- + SO42- +4H+
            +1+2-2           0                      +1-1    +1+2.5-2
           .  2Na2S2O3 + I2   ------------>  2NaI + Na2S4O6
          +4-2   +4-2                   +6-2    +2-2
          . SO2 + NO2  ------------> SO3 + NO
        +3-2          +5-2          +1                         +1 -5 -2          +6-2        +4-2        +1-2
       ง. As2S3 + 28NO3- + 20H+  ------------>  2H2AsO4- +3SO42-+ 28NO2 + 8H2O
7.ข้อใดผิดเกี่ยวกับการสกัดด้วยตัวทำละลาย
ก.       การสกัดด้วยตัวทำละลายสามารถใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “ชอกห์” ได้
ข.       การทดลองสกัดขิงด้วยน้ำ พบว่า น้ำสามารถละลายสารที่มีกลิ่นจากขิงได้ดีกว่าสารที่มีสี
ค.       ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันพืชทางอุตสาหกรรมคือ เอาทานอล
ง.       การสกัดขิงด้วยเอทานอล พบว่า เอทานอลสามารถละลายสารที่มีสีจากขิงได้ดีกว่าสารที่มีกลิ่น
คำตอบ ตัวทำละลายที่นิยมใช้สกัดน้ำมันพืชทางอุตสาหกรรมคือ เอาทานอล
ข้อ กถูกเพราะ “ชอกห์เลต” เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งใช้สกัดสารด้วยตัวทำละลาย
ข้อ ขและข้อ งถูก เพราะ
-         Ethanol : สารละลายมีกลิ่น >สารมีสี (ในน้ำหอมจึงนิยมใช้เอทานอลเป็นตัวทำละลาย)
-         H2O : ละลายสารมีสี >สารมีกลิ่น
 8.เมื่อนำสารประกอบบางชนิดของโลหะมาเผา จะให้เปลวไฟสีต่างๆเช่นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุดสำหรับเรื่องที่กล่าวมาข้างต้น
ก.      สีของเปลวไฟขึ้นอยู่กับสีของสารประกอบ
ข.      เมื่อเผาสารประกอบ สีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมที่ได้จากอิเล็กตรอนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารนั้น
ค.      สารประกอบต่างชนิดกันให้เปลวไฟสีต่างกัน
ง.       ธาตุหนึ่งๆอาจให้เส้นสเปกตรัมมากกว่าหนึ่งเส้นแต่จะเห็นรวมเป็นแสงสีหนึ่งๆซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของธาตุแต่ละชนิด
คำตอบ ธาตุหนึ่งๆอาจให้เส้นสเปกตรัมมากกว่าหนึ่งเส้นแต่จะเห็นรวมเป็นแสงสีหนึ่งๆซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของธาตุแต่ละชนิด
ข้อ กผิด เพราะสีของเปลวไฟขึ้นอยู่กับไอออนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
ข้อ ขผิด เพราะสีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัม เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนหรือการจ่ายอิเล็กตรอน ซึ่งจะมีการคายพลังงานออกมา
ข้อ คผิด เพราะไม่จำเป็นเสมอไป หากมีไอออนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบเหมือนกัน ก็จะให้เปลวไฟสีเดียวกัน
9. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก     
      ก.    นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ      ข.   เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ   
      ค.   จัดเรียงตัวเป็นผลึก           ง.   มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์
คำตอบ. ก เหตุผลก็เพราะว่าสมบัติของสารประกอยไอออนิกต้องเป็นของเหลวถึงจะนำไปฟ้าได้ แต่ข้อ ก.มันบอกว่านำไฟฟ้าได้ทุกสถานะก็เลยผิด
10. พันธะเคมี หมายถึง อะไร      
      ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม          ข. พลังงานที่ทำให้อะตอมสลายตัว     
      ค. การอยู่รวมกันของอะตอม              ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล
คำตอบ. ก เพราะว่าพันธะเคมีเกิดจากไอออนบวกกับไอออนลบทำพันธะกันทำให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมเลยตอบข้อ ก
11. พันธะเดี่ยว หมายถึงอะไร ก. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ ข. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ ค. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่ ง. พันธะที่เกิดจากการใช้์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวร่วมกัน 1 คู่
คำตอบ
12. สมบัติทางกายภาพในข้อใด ที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ ก. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย ข. พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ ค. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย ง. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง
คำตอบ
13. การทดลองใส่น้ำบริสุทธ์ในบีกเกอร์(A) และใส่น้ำหวานในบีกเกอร์(B) ที่เหมือนกันทุกประการจนเต็ม แล้วนำบีกเกอร์ทั้งสองวางในสภาพแวดล้อมเดียวกัน และไม่มีลมพัด วัดอุณหภูมิและมวลของน้ำที่ลดลงไปในหน่วยกรัม(g) ทุกๆชั่วโมง เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ได้ผลดังนี้

กำหนดปัจจัยที่ทำให้พิจรณาดังนี้
.ความชื้นในอากาศ      ข.อุณหภูมิของอากาศ     ค.ปริมาณน้ำตาลในน้ำ     ง.ขนาดปากบีกเกอร์
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการระเหยของน้ำเป็นไปตามข้อใด
1.  ก, ค          2. ค       3. ค, ง       4. ค และ ง
คำตอบ ข้อ 2. ค เพราะจากโจทย์บอกว่าในสภาพแวดล้อมที่เหมือนกันทุกประการ ดังนั้นความชื้นในอากาศก็ผิด และขนาดปากของบีกเกอร์ก็ผิด
14.  ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. สูตรโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวที่เล็กที่สุดมีโครงสร้างเป็นโซ่ที่มีกิ่งสาขาคือ C4H10
2. ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวมีโครงสร้างได้เฉพาะที่เป็นโซ่ ซึ่งอาจเป็นโซ่ตรง หรือมีกิ่งสาขาก็ได้
3. น้ำมันเบนซินที่มีค่าออกเทน 91 และน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91 มีการเผาไหม้ที่ให้พลังงานเท่ากัน
4. ค่าออกเทนของมอร์เฮปเทนมีค่าเป็น แสดงว่าการเผาไหม้ของนอร์มอนเฮปเทน ให้พลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับไอโซออกเทนเป็น 100
คำตอบ ข้อ1. เพราะ คาร์บอนจะป็นกิ่งสาขาได้ต้องมี4 ตัวขึ้นไป และC4H10 เป็นสูตรทางเคมีที่ถูกต้อง
ข้อ2.ผิด เพราะไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวเป็นได้เฉพาะโซ่ตรง
ข้อ3. และ ข้อ 4.ผิด เพราะค่าออกเทนบอกประสิทธิภาพการเผาไหม้ ไม่ใช่พลังงาน
15. การเรียงอะตอมและไอออนในชุดใดที่แสดงจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเท่ากัน

1. Be , Mg 2+ , Ca , Sr 2+
 2. Na +, Mn2+ , Al3+ , Si4+
3. Cl-, Ar , Ca2+ , Ti4+
4. N3-, O2-, Na , Mg
คำตอบ ข้อ 3. Cl มีอิเล็กตรอน = 17 ดังนั้น Cl  จึงมีอิเล็กตรอน = 18 Ar มีอิเล็กตรอน = 18
Ca มีอิเล็กตรอน = 20 ดังนั้น Ca2+จึงมีอิเล็กรอน = 18
Ti มีอิเล็กตรอนตรอน = 22 ดังนั้น Ti4+จึงมีอิเล็กตรอน = 18

จะเห็นได้ว่า Cl- , Ar , Ca2+ , Ti4+ต่างก็มีอิเล็กตรอน = 18
16. เมื่อนำสารประกอบของโลหะบางชนิดมาเผาไฟ จะเห็นเปลวไฟเป็น สีต่างๆ บางชนิดให้สีเหลือง บางชนิดให้สีเขียวฯลฯข้อสรุป เกี่ยวกับ เรื่องดังกล่าวข้อใดถูกต้อง

1. สารประกอบต่างชนิดกัน จะให้เปลวไฟต่างสีกันสมอ
2. สีของเปลวไฟมีความสัมพันธ์กับสีของสารประกอบนั้น
3. สีของเปลวไฟที่เห็น เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของธาตุซึ่งมีหลายระดับ และมีช่วงห่างเท่าๆกัน
4. ธาตุชนิดหนึ่งอาจให้สเปกตรัมมากกว่า หนึ่งเส้น แต่จะเห็นรวมเป็นแสงสีหนึ่ง ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะของธาตุนั้น
คำตอบ ข้อ 4. เพราะข้อ 1 ผิด เพราะสารประกอบต่างชนิดกัน ให้เปลวไฟสีเดียวกันก็ได้ถ้าสารประกอบนั้นประกอบด้วยโลหะชนิดเดียวกัน
ข้อ 2 ผิด เพราะสีของเปลวไฟไม่ได้มีความสัมพันธ์กับสีของสารประกอบ เช่น NaCl สีขาวให้เปลวไฟสีเหลือง CaCl2 สีขาวให้เปลวไฟสีแดงอิฐเป็นต้น

 ข้อ 3 ผิดเพราะระดับพลังงานของอิเล็กตรอนมีช่วงห่างไม่เท่ากัน โดยมีค่าใกล้เคียงกันมากขึ้นจากชั้นในออกชั้นนอก
ข้อ 4 ถูก ต้องและคำตอบสมบูรณ์อยู่แล้ว
17. แก๊ส x กรัม ปริมาตร 224 cmกำลัง3 ที่ความดัน 755 มิลลิเมตรปรอท ถ้าเปลี่ยนแก๊สความดันเป็น 760 มิลลิเมตรปรอท โดยใช้อุณหภูมิคงที่ ปริมาตรของแก๊ส x จะเป็นเท่าไร
คำตอบ จากสูตร p1v1 = p2v2
224x755 = v2x760
v2 = 224x755 
760
  = 222.5 cm3
ดังนั้น แก๊ส x กรัม ที่ความดัน 760 มิลลิเมตรปรอทมีปริมาตร = 222.5 cm3
18. การวิเคราะห์ซากเรือที่ทำจากไม้ชนิดหนึ่งพบว่ามี c14 อยู่ 1% ไม้ชนิดนี้เมื่อมีชีวิตอยู่พบว่ามี c14 อยู่ 3% ซากเรือนี้มีอายุเท่าใด (กำหนดค่าครึ่งชีวิตของ c14 เป็น 5730 ปี log 3 = 0.48)
คำตอบ วิธีทำ 2.303 log No = kt และ k = 0.693
Nt 1
  2
เมื่อ No คือปริมาณ c14 ในไม้ที่มีชีวิตอยู่ = 3%
Nt คือปริมาณ c14 ในซากเรือที่พบ = 1%
t คืออายุของซากเรือ และt1ส่วน2 คือครึ่งชีวิตของ c14
2.303 log No = 0.693
Nt 1
2xt
2.303 log 3 = 0.693 ----> 2.303x0.48 = 0.693
1 5730xt 5730xt
t= 2.303 x0.48x 5730 = 9140.22 ปี
0.693
ดังนั้น ซากเรือนี้มีอายุ = 9140.22 ปี
19.คริปทอนที่มีปริมาตร 44.8 ลบ.เดซิเมตร ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐานมีมวลเท่าไร
1. 22.4 กรัม 2. 44.8 กรัม 3. 84.0 กรัม 4.168.0 กรัม
คำตอบ 4
20. ธาตุ X จำนวน 4 โมลทำปฏิกิริยากับออกซิเจน 67.2 เดซิเมตรที่ STP เกิดเป็นสารประกอบ Y อย่างเดียว 1 โมลหนัก 220 กรัม จงหามงลของธาตุ X 
1. 4    2. 31  3. 62   4. 124
คำตอบ 2

1 ความคิดเห็น:

  1. สมาชิกในกลุ่ม
    1.นายสุริยา เพ็ญสุริยะ เลขที่ 4
    2.นางสาวกาญจนา ขจรศรี เลขที่ 5
    3.นางสาวณิภาภรณ์ ตันทา เลขที่ 9
    4.นางสาวนวนันท์ อินทรวิเชียร เลขที่ 11
    5.นางสาวพรลัดดา กุดไธสง เลขที่ 12
    6.นางสาวอนัญญา บุญศรี เลขที่ 18
    7.นางสาวณัฐมล ภู่สิงห์ เลขที่ 27
    8.นายฉัตรชัย พวงเข็มแดง เลขที่ 28
    9.นายปิยะภัทร์ ภู่ด่าง เลขที่ 31
    10.นายหัสนัย คำจันทร์ เลขที่ 34
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

    ตอบลบ